รายงาน-สกู๊ป ทำความรู้จัก บ ซีพีเคฯ ไร่องุ่น โรงบ่มไวน์ 6 พันไร่กลุ่มเปรมชัย จเลย 700 ล

ทีฆตปัสสีนิครถ์ทราบเรื่อง จึงไปเล่าความให้นิครนถนาฏบุตรฟัง นิครนถนาฏบุตรไม่เชื่อ แม้จะเล่าย้ำถึง ๓ ครั้ง เป็นแต่ใช้ให้ทีฆตปัสสีไปดูให้รู้ด้วยตนเอง. เมื่อทีฆตปัสสีนิครนถ์ไปด้วยตนเอง นายประตูก็ห้ามเข้าจึงกลับมาเล่าให้นิครนถนาฏบุตรฟัง แต่นิครนถนาฏบุตรก็ยืนยันไม่เชื่อถึง ๓ ครั้ง แต่ในที่สุดก็กล่าวว่าตนจะไปดูเอง. ลำดับนั้น มารผู้มีบาปก็สิงพรหมปาริสัชชะ ๙ . ตนหนึ่ง ให้พูดห้ามปรามพระผู้มีพระภาคมิให้ว่ากล่าวพกาพรหม เพราะพกาพรหมคือผู้เป็นใหญ่ เป็นผู้สร้าง และได้พูดจาอย่างอื่นอีกเป็นเชิงว่าผู้ติเตียน ธาตุ ๔ ภูต เทวดา ประชาบดี พรหม ตายไปจะเกิดในกายอันต่ำทราม ผู้สรรเสริญธาตุ ๔ เป็นต้น ตายไปจะเกิดในกายอันปราณีต พร้อมทั้งห้ามพูดล่วงเกินพระพรหม. เรารู้จักท่าน ท่านอย่านึกว่าเราไม่รู้จัก. พระพรหม บริษัทของพระพรหม พรหมปาริสัชชะ ล้วนแต่อยู่ในมือของท่าน ล้วนแต่อยู่ในอำนาจของท่าน ท่านจึงคิดว่า ผู้นั้นอยู่ในมือ อยู่ในอำนาจของเรา.

ปีติกรรณสูตแต่งงาน

ปีติกรรณสูตแต่งงาน

นั้นโคนไม้ นั้นเรือนว่าง จงเพ่งเถิด อย่าประมาท อย่าเดือดร้อนภายหลังเลย นี่และคือคำสอนของเรา. ท่านแสดงถึงภิกษุผู้ปวารณาตนให้ภิกษุอื่นว่ากล่าว แต่ก็เป็นผู้ว่ายาก จึงไม่มีใคร ( เพื่อนพรหมจารี ) อยากว่ากล่าวตักเตือนหรือคุ้นเคยด้วย แล้วแสดงธรรมะที่ทำให้ว่ายากหลายข้อ มีความปรารถนาลามกเป็นต้น มีการยึดแต่ความเห็นของตนเป็นข้อสุดท้าย. สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวว่า ความบริสุทธิ์มีได้ด้วยสงสาร ( การท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิด ).

ไม่ลักทรัพย์ ๓. ไม่เสพเมถุน ๔. ไม่พูดปดทั้งที่รู้ ๕. ไม่สะสมอาหารบริโภคเหมือนคนที่เคยเป็นเจ้าหน้าที่เรือนคลัง ๖.

จึงเป็นอันยังไม่ทรงรับรองถ้อยคำของปริพพาชกผู้นั้น. สันทกปริพพาชกกล่าวว่า พระอรหันต์ยังบริโภคกาม. พระอานนท์ตอบว่า พระอรนหันต์เป็นผู้ไม่ควรที่จะประพฤติล่วงฐานะ ๕ คือ ไม่จงใจฆ่าสัตว์, ไม่ลักทรัพย์, ไม่เสพเมถุน, ไม่พูดปดทั้ง ๆ รู้และไม่ทำการสะสมบริโภคกาม.

อุปาทาน ( ความยึดมั่นถือมั่น ) ๗. ตัญหา ( ความทะยานอยาก ) ๘. เวทนา ( ความรู้สึกอารมณ์ว่าทุกข์สุข เป็นต้น ) ๙.

สุขเวทนาเห็นปานนี้ ไม่ครอบงำพระหฤทัยของพระองค์ตั้งอยู่ได้. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชวตนาราม ทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงเรื่องที่ว่า ถ้าภิกษุยังละกิเลสที่เปรียบเหมือนตอของจิต ( เจโตขีละ ) ๕ ประการ และถอนกิเลสที่เปรียบเหมือนเครื่องผูกมัดจิต ( เจตโสวินิพันธะ ) ๕ ประการไม่ได้ ก็มิใช่ฐานะที่ภิกษุนั้นจะถึงความเจริญงอกงามไพบูลในพระธรรมวินัยนี้. แล้วทรงแสดงถึงบริษัท ๘ ที่พระองค์ผู้ประกอบด้วยความเป็นผู้แกล้วกล้า ๔ ประการ เสด็จเข้าไปหา เคยประทับนั่งสนทนาสากัจฉา ( ไต่ถาม โต้ตอบ ) กับบริษัทเหล่านั้น นับจำนวนหลายร้อยบริษัท คือ กษัตริย์ , พราหมณ์ , คฤหบดี ( ผู้ครองเรือน ) , สมณะ , เทพชั้นจาตุมหาราช , เทพชั้นดาวดึงส์ , มาร , พรหม . ไม่ทรงเห็นนิมิตหมายที่ว่าจะเกิดความกลัว ความหวาดกลัว ความหวาดแก่พระองค์ในบริษัทนั้น ๆ. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม พระมหาจุนทะเข้าไปเฝ้า กราบทูลถามปัญหาเรื่องการละ การสละทิฏฐิที่ประกอบด้วยอัตตวาทะ ( วาทะเกี่ยวกับตน ) โลกวาทะ ( วาทะเกี่ยวกับโลก ). ๕ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า เมื่อเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงว่า ทิฏฐินั้น ๆ ไม่ใช่ของเรา เราไม่ได้เป็นนั้น นั้นไม่ใช่ตัวตนของเรา ก็จะละสละทิฏฐิเหล่านั้นได้.

ภิกษุชื่ออริฏฐะ ผู้สืบสกุลที่เคยฆ่าแร้ง มีความเห็นผิดเกิดขึ้นว่า ธรรมะที่พระผู้มีพระภาคแสดงว่ามีอันตรายนั้น ไม่เป็นอันตรายแก่ผู้ส้องเสพจริง ภิกษุทั้งหลายตักเตือนก็ไม่ฟัง ความทราบถึงพระผู้มีพระภาค ทรงเรียกไปชี้แจง ก็นั่งนิ่งเก้อเขินถอนใจ ไม่มีปฏิภาน. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิโครธาราม ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ตรัสแสดงธรรมแก่มหานามศากยะ ผู้กราบทูลถามว่า โลภะ โทสะ โมหะ เป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต. ข้าพระองค์ละธรรมอะไรภายในไม่ได้ บางคราวธรรมะคือโลภะบ้าง โทสะบ้าง โมหะบ้าง จึงครอบงำจิตตั้งอยู่ .

ที่อยู่ภายนอก ๓. ที่อยู่ทั้งภายในภายนอก ๔. ทีมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ๕. ทีมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ๖. ที่มีทั้งความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปเป็นธรรมดา.

ตรัสแย้งต่อไปว่า เคยตรัสสั่งให้ลงโทษโจรที่จับได้ โดยให้ใส่ลงไปในหม้อทั้งเป็น ปิดผาแล้วเอาหนังสดรัด เอาดินเหนียวที่เปียกยาให้แน่น ยกขึ้นสู่เตาแล้วจุดไฟ เมื่อรู้ว่าผู้นั้นตายแล้ว ก็ให้ยกหม้อลง กะเทาะดินเหนียวที่ยาออก เปิดฝาค่อย ๆ มองดู เพื่อจะได้เห็นชีวะของโจรนั้นออกไปก็ไม่เห็นเลย จึงทำให้ไม่เชื่อว่ามีโลกอื่น. ถาม:เทวา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์ และหมู่สัตว์เป็นอันมากอื่น ๆ ถูกอะไรผูกมัดแม้ตั้งใจว่าจะไม่จองเวร ไม่ใช่อาชฌา ไม่มีศัตรู ไม่เบียดเบียน อยู่อย่างไม่มีเวร แต่ก็ต้องจองเวร ใช่อาญา มีศัตรู เบียดเบียน และอยู่อย่างมีเวร. ทรงบัญญัติด้วยดี ซึ่งข้อปฏิบัติอันจะนำไปสู่พระนิพพานแก่พระสาวก. พระนิพพานและข้อปฏิบัติก็เข้ากันได้เหมือนน้ำในแม่น้ำคงคากับยมุนา. ทรงแสดงธรรมอันเห็นได้ด้วยตนเอง ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียกมาดู ควรน้อมเข้ามาในตนเป็นต้น. เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายไม่พึงเรียกกัยด้วยคำว่า อาวุโส เช่น ที่เรียกกันอยู่ในบัดนี้ พึงเรียกภิกษุอ่อนกว่า โดยชื่อ โดยโครต หรือ ด้วยคำว่า อาวุโส ( ผู้มีอายุ ) พึงเรียกภิกษุผู้แก่กว่าว่า ถันเต ( ท่านผู้เจริญ ) หรือ อายัสมา ( ท่านผู้มีอายุ ).

พระองค์เองประทับนั่งพิงเสากลาง ภิกษุสงฆ์นั่งพิงฝาด้านตะวันออก มัลลกษัตริย์นั่งพิงฝาด้านตะวันตก พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมจนดึก จึงตรัสให้มัลลกษัตริย์กลับได้. ครั้นเห็นภิกษุสงฆ์ยังไม่ง่วง จึงตรัสสั่งพระสารีบุตรให้แสดงธรรมแทน. พระองค์เองทรงปูผ้าสังฆาฏิ ๔ ชั้น ทรงพักผ่อนสำเร็จสีหไสยา ( บรรทมแบบราชสีห์ คือตะแคงขวา ). ธรรมในความประพฤติเกี่ยวกับคำพูด ( มี ๔ อย่าง คือ ไม่พูดเท็จ ; ไม่พูดส่อเสียด คือไม่ยุให้แตกร้าวกัน ; ไม่พูดแข่งดีหวังจะได้ชัยชนะ เช่น เมื่อถูกว่า ท่านเป็นคนทุศีล ก็ตอบว่า ท่านนะสิทุศีล อาจารย์ของท่านก็ทุศีล ; พูดด้วยใช้ปัญญา มีข้ออ้างอิง ถูกต้องตามกาล).

อภิชฌา ( เพ่งอยากได้ ) ๒. พยาบาท ( ปองร้าย ) ๓. โกรธ ๔. ผูกโกรธ ๕ .

จะไม่ก้าวล่วงข่มแหงกุลสตรี ( หญิงที่มีสามีแล้ว ) และกุลกุมารี ( หญิงสาวที่ยังไม่มีสามี ). บุคคลทำไว้ในใจว่า วิญญาณไม่มีที่สุด เข้าถึงวิญญาณณัญจายตนะ. ส่วนการไม่บัญญัติอัตตา ก็เป็นไปในทางตรงกันข้ามกับการบัญญัติที่กล่าวมาแล้ว. เพราะผัสสะ ( ความถูกต้อง ) เป็นปัจจัย จึงมีเวทนา. สักกปัญหสูตร ว่าด้วย “ ปัญหาของท้าวสักกะ” ๑๐ ข้อ.

พระ ผู้มีพระภาคตรัสเล่าถึงพระเจ้ามหาวิชิตะในอดีตกาลผู้สมบูรณ์ด้วยทรัพย์ ได้ชัยชนะปฐมมณฑลอันยิ่งใหญ่ ใคร่จะบูชามหายัญ เพื่อประโยชน์และความสุข จึงตรัสเรียกพราหมณ์ปุโรหิตมาให้ช่วยสอนวิธีบูชามหายัญนั้น. ทรงแสดงข้อปฏิบัติที่เป็นที่สบายแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ( อรูปสมาบัติที่ ๔ ) ว่า ได้แก่การที่อริยสาวกพิจารณาเห็นว่า กาม , กามสัญญา , รูป , รูปสัญญา, อาเนญชสัญญา ดับไม่มีเหลือในเนวสัญญานาสัญญายตนะ (สมบัติที่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่). พระอุเทนะจึงกล่าวว่า มีบุคคล ๔ ประเภท คือ ๑.

พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ถ้าอุบาลีคฤบดีจะยอมตั้งอยู่ในสัจจะพูดจากัน ก็จะมีการสนทนากันในเรื่องนี้. อุบาลีคฤหบดียอมรับ. จึงตรัสถามว่า นิครนถ์เจ็บหนัก ห้ามน้ำเย็น รับแต่น้ำร้อน เมื่อไม่ได้น้ำเย็นก็ตายดังนี้ นิครนถนาฏบุตรบัญญัติผู้นี้ว่า จะไปเกิดที่ไหน. ทูลตอบว่า เกิดในเทพที่ชื่อว่า นโมสัตตะ ( ผู้ข้องอยู่ในจิตใจ) เพราะเกี่ยวเกาะอยู่ในเรื่องจิตใจตายไป. ตรัสเตือนให้คิดให้ดีเสียก่อนแล้วจึงตอบ คำต้นกับคำท้ายไม่ต่อกัน ( คือเดิมชี้ว่า โทษหรือทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า แต่ตอบว่า มีใจเป็นเหตุ ) แต่อุบาลีคฤหบดีก็ยังยืนยันว่าทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า.

ครั้งนั้น ปริพพาชก ( นักบวชนอกพุทธศาสนา ) ชื่อสุภัททะ มาเฝ้า พระอานนท์จะไม่ให้เข้าเฝ้า แต่พระผู้มีพระภาคทรงทราบ จึงทรงอนุญาตให้เข้าเฝ้าได้ เมื่อกราบทูลถาม ทรงโต้ตอบแสดงธรรมให้ฟัง ก็ขอบวชและเพียรพยายามจนได้บรรลุอรหัตตผลในไม่ช้า นับเป็นพระสาวกองค์สุดท้ายที่ทันเห็นพระพุทธเจ้า. ทรงแสดงว่าเรื่องเหล่านี้นอกจากทรงทราบด้วยพระองค์เอง เพราะทรงเข้าใจแจ่มแจ้งซึ่งธรรมธาตุ เป็นอย่างดี แม้เทพดาก็เคยมากราบทูลเรื่องเหล่านี้ เช่น ในสมัยที่ประทับ ณ โคนไม้สาละใหญ่ในสุภวันใกล้เมืองอุกกัฏฐา. พระองค์เองทรงสมภพในสกุลกษัตริย์ ในภัททกัปป์นี้ มีพระนามโดยพระโครตรว่า โคตมะ มีปริมาณแห่งอายุน้อย ผู้ใดมีชีวิตอยู่นานก็เพียง ๑๐๐ ปี ที่เกินกว่านั้นมีน้อย. ตรัสรู้ ณ โคนไม้อัสสัตถะ (โพธิ์) . มีคู่แห่งอัครสาวกนามว่า สารีบุตร กับโมคคัลลานะ มีการประชุมสาวกครั้งเดียว มีภิกษุ ๑, ๒๕๐ รูป ล้วนเป็นพระขีณาสพ. มีภิกษุเป็นยอดพุทธอุปฐาก ชื่ออานนท์ มีพุทธบิดาพระนามว่า สุธโธทนะ พระพุทธมารดาพระนามว่า มายา มีกบิลพัสดุนครเป็นราชธานี.

พระสารีบุตรกราบทูลว่า เพราะท่านคิดว่า พวกพราหมณ์น้อมจิตไปเพื่อพรหมโลก ( โดยมาก ). พระผู้มีพพระภาคจึงตรัสว่า ธนัญชานิพราหมณ์ถึงแก่กรรมไปเกิดในพรหมโลกแล้ว. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ใกล้กรุงราชคฤห์. สมัยนั้นท่านพระสารีบุตรจาริกไปในชนบท “ ทักขิณาคิริ ” ( ภูเขาภาคใต้ ) พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่. มีภิกษุรูปหนึ่งจำพรรษาในกรุงราชคฤห์แล้วเดินทางไปทักขิณาคิริชนบท เข้าไปหาพระสารีบุตรสนทนากัน พระสารีบุตรถามถึงธนัญชานิพราหมณ์ ก็เล่าให้ฟัง ว่าเป็นผู้ประมาท อาศัยพระราชา “ ปล้น” พราหมณ์คฤหบดี , อาศัยพราหมณคฤหบดี “ ปล้น” พระราชา เป็นต้น .

ศาสดาดี , หลักธรรมดี , สาวกดี ย่อมได้รับสรรเสริญทั้งสามฝ่าย ใครทำความเพียรตาม ก็ได้ประสบบุญเป็นอันมาก. ธรรมในกลุ่มที่เป็นประธาน ( คือโพชฌงค์องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ ๗ อย่าง มีสติ เป็นต้น ). อนึ่ง วรรณะทั้งสี่นี้ ถ้าสำรวมกาย , วาจา , ใจ , อาศัยการเจริญโพธิปักขิยะธรรม ๗ ประการ ๑๑ ก็จะปรินิพพานได้ในปัจจุบันเหมือนกัน. ตรัสในที่สุดว่า ไม่ทรงเห็นกำลังอย่างอื่นสักอย่างหนึ่งที่ครอบงำได้ยากเท่ากำลังของมาร.

พระผู้มีพระภาคก็ตรัสว่า กรรมที่จะให้ผลไปหมกไหม้ในนรกเป็นเวลาหลายหมื่นหลายแสนปี เป็นอันท่านได้รับผลในปัจจุบัน. พระองคุลิมาลก็หลีกเร้นเข้าไปอยู่ในถ้ำ และเปล่งอุทานเป็นธรรมภาษิตในทางส่งเสริมหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. ตรัสถามว่า ท่านเห็นสาวกของเราเห็นธรรมกี่อย่างในเราจึงสักการะเคารพ เป็นต้น. สกุลุทายิปริพากทูลว่า ๕ อย่าง คือพระผู้มีพระภาคเป็นผู้ ๑. มีอาหารน้อย พรรณนาคุณแห่งความเป็นผู้มีอาหารน้อย ๒.

ธรรม ๙ อย่าง มีอุปการะมาก คือองค์แห่งความบริสุทธื์ที่ควรตั้งไว้เป็นประธาน ( ปาริสุทธิปาธานิยังคะ ) อันได้แก่ ๑. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล ๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต ๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งความเห็น ๔. กังขาวิตณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเหตุข้ามความสงสัยเสียได้ ๕. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งการเห็นด้วยญาณซึ่งทางและมิใช่ทาง ๖.

จึงทรงบำเพ็ญฌานสงบความตรึกทางกาม ความตรึกทางพยาบาท และความตรึกทางเบียดเบียน ได้บรรลุฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๔ ทรงแผ่พระมนัสอันประกอบด้วยเมตตา ( คิดให้เป็นสุข ) กรุณา ( คิดให้พ้นทุกข์ ) มุทิตา ( พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี) และอุเบกขา ( วางใจเป็นกลาง ) ไปทั่งสี่ทิศ. เมื่อเสด็จข้ามแม่น้ำคงคาแล้ว ได้เสด็จต่อไป (ในแคว้นวัชชี ) สู่โกฏิคาม . ณ ที่นั้นทรงแสดงธรรมเรื่องอริยสัจจ์ ๔ และแสดงเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา โดยมาก ต่อจากนั้นได้เสด็จไปพัก ณ โรงพักคนเดินทางทำด้วยอิฐ ในนาทิกคาม. ณ ที่นั้นทรงแสดงธรรมปรารภคำถามของพระอานนท์ที่ว่า ผู้นั้นผู้นี้ตายไป มีคติเป็นอย่างไร โดยแสดงหลักธรรมที่ผู้ประพฤติปฏิบัติอาจพยาการณ์ตนเองได้ว่า จะพ้นคติที่ตกต่ำหรือไม่ และแม้ ณ นาทิกคามนั้น ก็ทรงแสดงเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา โดยมาก. เมื่อวิปัสสีกุมารประสูติแล้ว พระเจ้าพันธุมา พุทธบิดา ก็ตรัสให้เชิญพวกพราหมณ์ผู้รู้ลักษณะมาทำนาย.

เราจึงถามสุนักขัตตลิจฉวีว่า ที่เป็นอย่างนี้ ชื่อว่าเราแสดงอิทธิปาฏิหาริย์แล้วหรือยัง. สุนักขัตตลิจฉวีก็รับว่าแสดงแล้ว. การทำสัญโญชน์ ( กิเลสที่ผูกมัด) ให้สิ้นไป ๓ ประการ อันทำให้เป็นพระโสดาบัน ๒. ทำสัญโญชน์ ๓ ประการนั้นให้สิ้น ทำระคะ โทสะ โมหะให้น้อยลง อันทำให้เป็นสกทาคามี ๓. ทำสัญโญชน์เบื้องต่ำ ๕ ประการให้สิ้น อันทำให้เป็นพระอนาคามี ๔. ทำอาสวะให้สิ้น ทำให้แจ้งความหลุดพ้นเพราะสมาธิ ( เจโตวิมุติ) และความหลุดพ้นเพราะปัญญา ( ปัญญาวิมุติ ) ๔.

จิตมีโทสะ ๔ . จิตปราศจากโทสะ ๕. จิตมีโมหะ ๖. จิตปราศจากโมหะ ๗. จิตหดหู่ ๘. จิตฟุ้งซ่าน ๙.

ตอบว่า วจีสังขารดับก่อน . ต่อจากนั้นกายสังขาร ต่อจากนั้นจิตตสังขารจึงดับ. การออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติเป็นอย่างไร. ตอบว่า ภิกษุผู้ออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติไม่ต้องคิดว่าเราจักออก เรากำลังออก เราออกแล้วจากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ เป็นแต่ว่าอบรมจิตเช่นนั้นไว้ก่อนน้อมจิตเพื่อความเป็นเช่นนั้น. เมื่อภิกษุออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ สังขารอะไรเกิดก่อน ตอบว่าจิตตสังขารเกิดก่อน ต่อจากนั้นกายสังขาร ต่อจากนั้นวจีสังขารจึงเกิด. อริยมรรคมีองค์ ๘ คืออะไร ตอบว่า มีสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ เป็นต้น.

คบเพื่อนที่ดี ๔. ว่าง่าย ๕. ขยันช่วยทำกิจธุระของเพื่อน ๖. ใคร่ในธรรม ๗. สันโดษ ( ยินดีตามมีตามได้ ) ๘. ลงมือทำความเพียร ๙.

ทูลตอบว่า รู้. ไฟลุกโพลงขึ้นเพราะอาศัยอะไร. ทูลตอบว่า เพราะอาศัยเชื้อหญ้าและไม้ ๓. ถ้าไฟดับเบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรือไม่.

ปีติกรรณสูตแต่งงาน

ตอบ:ไม่ใช่ เพราะโลกธาตุเป็นอเนก มีธาตุต่าง ๆ กัน สัตว์ยึดถือธาตุอันใด ก็กล่าวเพราะความยึดถือธาตนั้นว่า นี้แลจริง อย่างอื่นเป็นโมฆะ. ถาม:ภิกษุปฏิบัติอย่างไร จึงเชื่อว่าปฏิบัติข้อที่ปฏิบัติที่สมควร ที่ให้ถึงความดับส่วนแห่งความกำหนดหมายกิเลสเป็นเหตุให้เนิ่นช้า. พระอานนท์กราบทูลถามถึงว่า ผู้นั้นผู้นี้ตายไปเกิดที่ไหน และพระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นราย ๆ ไป. ทรงแสดงถึงบุคคลผู้เป็นถูปารหะ ( ผู้ควรแก่สตูป ) ๔ คือ พระพุทธเจ้า พระปัจจเจกพุทธเจ้า สาวกของพระพุทธเจ้า และพระเจ้าจักรพรรดิ์. วัสสการพราหมณ์ก็กราบทูลว่า เพียงข้อใดข้อหนึ่งก็หวังความเจริญได้ ไม่มีเสื่อม จะกล่าวไยถึง ๗ ข้อ พระเจ้าอชาตศัตรูไม่ควรทำการรบกับชาววัชชี เว้นไว้แต่วิธียุและทำให้แตกกัน แล้วกราบทูลลากลับไป. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ กเรริกุฏิ ( กุฏิมีมณฑปทำด้วยไม้กุ่มตั้งอยู่เบื้องหน้า ) ในเชตวนารวมของอนาถปิณฑิกคฤบดี ใกล้กรุงสาวัตถี.

นี้นับเป็นฝ่ายอนุมัติ ๔ ซึ่งเป็นเครื่องประกอบของยัญนั้น. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิคมชื่อกัมมาสธัมมะ แคว้นกุรุ ณ ที่นั้น ได้ตรัสชี้ให้เห็นโทษของกามและกามสัญญา ( ความกำหนดหมายเกี่ยวกับกาม ) ว่า ทั้งสองอย่างนี้เป็นบ่วงมาร , เป็นวิสัยของมาร, เป็นเหยื่อล่อของมาร , เป็นที่โคจรของมาร. ทรงแสดงต่อไปว่า ภิกษุพิจารณาเห็นอย่างนี้ว่า ถ้าอยู่สบาย อกุศลธรรมจะเจริญ กุศลธรรมจะเสื่อม ถ้าตนไว้ในทุกข์ อกุศลธรรมจะเสื่อม กุศลธรรมจะเจริญ ก็จะตั้งตนไว้ในทุกข์ เพื่อให้อกุศลธรรมเสื่อม และเพื่อให้กุศลธรรมเจริญ.

นี้แลคืออนุสาสนีของเรา. (๒) ธรรมอันเป็นกุศล ๓ อย่าง คือความไม่โลภ, ความไม่คิดประทุษร้าย, ความไม่หลง. (๑) ธรรมอันเป็นอกุศล ๓ คือความโลภ, ความคิดประทุษร้าย, ความหลง.